เรียกดู: ดาวน์โหลด

ข้อมูลดาวน์โหลดหนังสืออิเลคทรอนิก (E-Book) เอกสารอิเลคทรอนิก (E-Doc) และแบบฟอร์มอิเลคทรอนิก (E-Form) รวมถึงฟอนท์ลาว และโมเดล 3D Sketchup

ฟอนต์ SNT Anouvong เป็นฟอนต์แบบอักษร Serif พัฒนาโดย Sengkeo Vangxiengvue ชาวลาว เปิดตัวครั้งแรกในปี พ.ศ. 2559 ฟอนต์นี้ได้รับแรงบันดาลใจจากตัวอักษรลาวแบบดั้งเดิม ผสมผสานกับสไตล์แบบสมัยใหม่

ฟอนต์ Saysettha OT เป็นฟอนต์แบบอักษร Serif พัฒนาโดยรัฐบาลลาว โดยใช้แบบอักษร Lao Unicode ของรัฐบาลลาวเป็นฐาน ได้รับการเผยแพร่ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2545 และได้รับการอัปเดตเป็นเวอร์ชัน 2 ในปี พ.ศ. 2565

Font Noto Sans Lao พัฒนาโดย Google Fonts โดยใช้แบบอักษร Lao Unicode ของรัฐบาลลาวเป็นฐาน เป็นแบบอักษร Sans Serif รองรับอักขระภาษาลาวทั้งหมด 116 ตัว เผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาต Apache License 2.0 นิยมใช้ในงานต่างๆ เช่น หัวข้อเว็บไซต์หรือแอปพลิเคชัน บรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ โฆษณา เอกสารทางการ งานออกแบบกราฟิก

BoonHome หรือ ບຸນໂຮມ หรือ บุญโฮม เป็นยูนิโค้ดฟอนต์ที่กลายพันธุ์มาจาก บุญฟอนต์ โดยทำตัวอักษรลาวก่อนแล้วบังเอิญเกิดอยากเขียนภาษาไทยด้วยตัวอักษรลาวเลยได้ฟอนต์แบบนี้ออกมา (“โฮม” ในภาษาลาวแปลว่า “รวม” ครับ) เป็นการทดสอบความพยายามในการทำตัวอักษรลาวให้เป็น Sans-serif และปรับตัวอักษรละตินแบบ Sans-serif ให้พอจะไปกันได้กับลาว ส่วนตัวอักษรไทยในฟอนต์นี้คงถือว่าเป็นของแถมเอาไว้เรียกร้องความสนใจ เพราะใช้ตัวอักษรเดียวกับลาวเป็นส่วนใหญ่

สมัยก่อน ยังไม่มีฟอนต์ภาษาลาว ชาวลาวใช้ตัวอักษรลาวเขียนลงบนใบลานหรือกระดาษด้วยลายมือ ตัวอักษรลาวในสมัยนั้นจึงมีรูปร่างแตกต่างกันไปตามลายมือของแต่ละคน ต่อมา ชาวต่างชาติที่เข้ามาอาศัยอยู่ในลาว เช่น ชาวฝรั่งเศส ชาวจีน และชาวเวียดนาม ได้เริ่มพัฒนาฟอนต์ภาษาลาวขึ้น ฟอนท์ภาษาลาวในช่วงแรกมักเป็นแบบตัวพิมพ์ที่ไม่มีหัว (Sans-serif) ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับฟอนท์ภาษาฝรั่งเศสหรือภาษาจีน

นางสาวรัชดา ธนาดิเรก รองโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า ตามที่รัฐบาลไทยได้ให้การสนับสนุนเงินกู้แก่ กรมรถไฟ กระทรวงโยธาธิการและขนส่ง สปป.ลาว

หมากผู้หมากเมีย (ชื่อวิทยาศาสตร์: Cordyline fruticosa) เป็นพืชในวงศ์หน่อไม้ฝรั่ง (Asparagaceae) กระจายพันธุ์ตั้งแต่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ถึงเกาะ

พลูด่าง (Devil’s Ivy หรือ Golden Pothos) มีชื่อวิทยาศาสตร์คือ Epipremnum aureum เป็นไม้เลื้อย ลำต้นกลมอ่อน มาพร้อมรากอากาศ ส่วนใบทรงหัวใจ สีเขียวปนเหลืองหรือขาว โคนใบมน ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ แผ่นใบหนา สามารถปลูกลงในกระถางหรือในแจกันก็ได้ ทนโรค ทนแมลง โตได้ในทุกสภาพ ดูแลไม่ยาก ไม่ต้องเปลี่ยนกระถางบ่อย นิยมขยายพันธุ์ด้วยการปักชำ ชอบดินร่วนที่ผสมปุ๋ย ทรายหยาบ และใบไม้แห้ง ชอบอุณหภูมิประมาณ 18-24 องศาเซลเซียล ต้องการแสงแดดจัด ต้องการความชื้นสูง ต้องการน้ำสัปดาห์ละครั้ง หรือแล้วแต่สภาพหน้าดินและอากาศ

ต้นคริสติน่าเป็นไม้พุ่มที่ไม่สูงมากนัก ลำต้นจึงไม่ใหญ่ ผิวนอกเรียบเกลี้ยงสีน้ำตาลอ่อน แล้วแตกเป็นกิ่งก้านสีเขียวเข้ม เมื่อส่วนของลำต้นแก่แล้วก็จะค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้ม